ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

เอ็ดการ์ เดอกาส

แอดการ์ เดอกา (ฝรั่งเศส: Edgar Degas, 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 - 27 กันยายน พ.ศ. 2460) จิตรกร ประติมากร ช่างภาพพิมพ์ และช่างวาด สมัยอิมเพรสชันนิสม์คนสำคัญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 เดอกาเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อตั้งศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์แต่เดอกามาหันหลังให้และชอบให้เรียกตนเองว่าศิลปินสัจนิยม (Realist) มากกว่า นอกจากนั้นเดอกายังเป็นช่างเขียนแบบ (Draughtsman) ที่มีฝีมือดี ภาพที่เดอกาชอบวาดคือภาพนักเต้นบัลเลต์ ซึ่งเป็นมากกว่าครึ่งของงานเขียนทั้งหมดที่เดอกาทำ การวาดทำให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญของเดอกาในการวาดความเคลื่อนไหว เช่นเดียวกับภาพที่วาดเกี่ยวกับสนามม้าและผู้หญิงเปลือย ภาพเหมือนของเดอกาถือกันว่าเป็นภาพเขียนที่อยู่ในบรรดาภาพเขียนมีลักษณะดีที่สุดในประวัติศาสตร์ศิลปะ

เมี่อเริ่มอาชีพเดอกาต้องการจะเป็นจิตรกรประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นสาขาที่เขียนภาพจากเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์คลาสสิก ประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา ตำนานเทพเจ้า และเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เพิ่งเกิดขึ้น เดอกาก็ได้เตรียมตัวโดยศึกษามาทางนี้โดยเฉพาะ เมื่ออายุได้ราวสามสิบปีกว่า ๆ เดอกาก็เปลี่ยนใจแต่ก็ได้นำความรู้ทางจิตรกรรมประวัติศาสตร์มาผสมกับการวาดภาพร่วมสมัย ฉะนั้นเดอกาจึงถือว่าเป็นจิตรกรคลาสสิกที่วาดภาพสมัยใหม่

อีแลร์-แฌร์แม็ง-แอดการ์ เดอกา (Hilaire-Germain-Edgar Degas) เกิดที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นลูกชายคนโตในบรรดาพี่น้องห้าคนของเซแล็สติน มูซ็อง เดอ กาและโอกุสแต็ง เดอ กา นายธนาคาร ครอบครัวเดอกามีฐานะร่ำรวยพอประมาณ เมื่อเดอกาอายุได้ 11 ขวบ (เดอกาเปลื่ยนการสะกดนามสกุลตามที่ครอบครัวทำโดยเปลื่ยนการสะกด “เดอ กา” (De Gas) มาเป็น “เดอกา” (Degas) ตั้งแต่ยังหนุ่มเพื่อเป็นการเลื่ยงการเสรแสร้งที่แสดงว่ามาจากครอบครัวที่มีเชื้อสาย) เดอกาเริ่มการศึกษาที่โรงเรียนมัธยมหลุยส์-เลอ-กร็อง จนจบปริญญาตรี (baccalauréat) ทางวรรณคดีเมื่อ ค.ศ. 1853

เดอกาเริ่มวาดภาพอย่างจริงจังตั้งแต่อายุไม่มาก พออายุได้ 18 ปีเดอกาก็จัดห้องหนึ่งในบ้านให้เป็นห้องวาดภาพและเริ่มงานคัดลอกภาพในพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ที่ปารีส พ่อของเดอกาอยากให้ลูกชายเรียนทางกฎหมาย เดอกาจึงสมัครเข้าคณะนิติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยปารีสในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1853 แต่ก็มิได้ใส่ใจในการศึกษาเท่าใดนัก ในปี ค.ศ. 1855 เดอกาพบฌอง เอากุสต์ โดมินิค อิงเกรส์ ผู้ที่เดอกานับถือมากแนะนำเดอกาว่า “วาดเส้น, วาดเข้าไป” (draw lines, young man, many lines) ในเดือนเมษายนของปีเดียวกันเดอกาได้รับเข้าสถาบันวิจิตรศิลป์แห่งปารีส (École des Beaux-Arts) เรียนการวาดเส้นกับลุยส์ ลาโมธโดยวาดตามอิทธิพลของอิงเกรส์ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1856 เดอกาเดินทางไปอิตาลีและไปอยู่ที่นั่นสามปี เมื่ออยู่ที่อิตาลีเดอกาก็ลอกภาพของมีเกลันเจโล ราฟาเอล และ ทิเชียน และของศิลปินเรอเนซองส์คนอื่น ๆ และมักจะเลือกส่วนศีรษะจากฉากแท่นบูชาต่าง ๆ และวาดหรือเขียนแบบภาพเหมือน ระหว่างช่วงเวลานี้เดอกาศึกษาและกลายเป็นจิตรกรผู้ชำนาญในทางเท็คนิคของการเขียนภาพแบบศิลปะสถาบันและศิลปะคลาสสิก

หลังจากกลับจากอิตาลีในปี ค.ศ. 1859 เดอกาก็ศึกษาต่อโดยลอกภาพจากพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ และยังคงรักการลอกภาพจนกระทั่งอายุกลางคน เมื่อต้นคริสต์ทศศตวรรษ 1860 ขณะที่ไปเยื่ยมพอล วาลพิงชองเพื่อนที่รู้จักกันมาแต่เด็กที่นอร์ม็องดี เดอกาก็เริ่มวาดรูปม้าเป็นครั้งแรก เดอกาแสดงภาพเขียนที่นิทรรศการศิลปะที่ปารีส (Salon de Paris) เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1865 เมื่อคณะกรรมการยอมรับภาพ “ฉากสงครามในยุคกลาง” (Scene of War in the Middle Ages) ซึ่งเป็นที่ได้รับความสนใจบ้างเพียงเล็กน้อย แม้ว่าเดอกาจะแสดงภาพเขียนทุกปีในอีกห้าปีต่อมาที่นิทรรศการแต่ก็ไม่ได้ส่งภาพเขียนแบบประวัติศาสตร์อีกหลังจากภาพแรก ภาพ “การแข่งม้าวิ่งข้ามสิ่งกีดขวาง—จ็อกกีตกม้า” (Steeplechase—The Fallen Jockey) ที่แสดงเมื่อปี ค.ศ. 1866 แสดงให้เห็นว่าเดอกาเริ่มหันจากการเขียนภาพประวัติศาสตร์มาเขียนภาพร่วมสมัย ความเปลื่ยนแปลงนี้มีอิทธิพลส่วนใหญ่มาจากตัวอย่างของเอดวด มาเนท์ผู้ที่เดอกาพบเมื่อปี ค.ศ. 1864 ขณะที่ลอกภาพอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187